- ข้อมูลผู้สูงอายุทั่วไป
- สถิติผู้สูงอายุ ธันวาคม 2566
- อัตราส่วนการเป็นภาระวัยสูงอายุ และ อ้ตราส่วนการเป็นภาระ ของ ประชากรไทย ปี พ.ศ.2565 ระดับ จังหวัด เขต/อำเภอ ตำบลรวบรวมจากข้อมูลของกรมการปกครอง
- สถิติผู้สูงอายุ กันยายน 2567
- ผู้พิการ
- ผู้สูงอายุได้รับการประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิต(ADL)
- ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
- ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยในตามกลุ่มสาเหตุการป่วย
- ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยใน ตามกลุ่มสาเหตุการป่วยจากสาเหตุภายนอก
- ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยใน ตามการวินิจฉัยโรคหลัก
- ข้อมูลผู้สูงอายุที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ
- จำนวนผู้สูงอายุที่อยู่ลำพัง/ดูแลกันเอง
- จำนวนผู้สูงอายุ จำแนกตามการหกล้ม
- จำนวนผู้สูงอายุจำแนกตามประเภทส้วมที่ใช้
- ผู้มีสิทธิรับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดแยกรายจังหวัด
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2555 (Thai & Eng Version)
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ.2558
- Situation Of The thai elderly 2016
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2547
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2548
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2549
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี 2552
- สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปี 2553
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี 2554
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2557 (Thai & Eng Version)
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2554
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2553
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2552
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2551
- สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2550
สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปี 2553
ข้อมูลประชากรสูงอายุที่นำเสนอในบทนี้ ประชากรสูงอายุไทย หมายถึง ผู้ที่มีสัญชาติไทยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎร์ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2553) แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับขนาด สัดส่วน และแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงในขนาดและสัดส่วนของผู้สูงอายุใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหลัก 3 แหล่งคือ ทะเบียนราษฎร์ สำมะโนประชากร และการฉายภาพประชากร ถึงแม้ปี พ.ศ.2553 จะเป็นปีที่มีการทำสำมะโนประชากรโดยการแจงนับประชากรทั้งประเทศโดย และเป็นปีที่ครบวาระ 100 ปี ของการทำสำมะโนประชากรของประเทศไทย แต่ข้อมูลจำนวนประชากรสูงอายุของปี พ.ศ.2553 ที่นำเสนอในบทนี้ใช้
สถิติจำนวนประชากรรวมและจำนวนประชากรสูงอายุจากทะเบียนราษฎร์ ทั้งนี้เพราะการจัดเตรียมรายงานดำเนินการแล้วเสร็จก่อนที่การประมวลผลข้อมูลสำมะโนประชากร พ.ศ.2553 จะดำเนินการแล้วเสร็จ เนื่องจากข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุจากแหล่งข้อมูลทะเบียนราษฎร์ที่รวบรวมเสนอในบทนี้ครอบคลุมเฉพาะผู้สูงอายุที่มีสัญชาติไทยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎร์เท่านั้น ดังนั้น จึงไม่นับรวมผู้สูงอายุดังต่อไปนี้
1. ผู้ที่ไม่ได้มีสัญชาติไทย แต่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
2. ผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง (ทะเบียนซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดให้จัดทำขึ้น
สำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน)
3. ผู้ที่อยู่ระหว่างการย้าย (ผู้ที่ย้ายออกแต่ยังไม่ได้ย้ายเข้า)
ประชากรสูงอายุไทย*
* รองศาสตราจารย์ ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ และ อาจารย์ศิริรรณ ศิริบุญ
วิทยาลัยประชากรศาสตร ์ จฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลัย