ระบบ Aging Health data (เป็นระบบที่ใช้งานโดยบุคลากรในสถานบริการสุขภาพ)

ระบบ Aging Health data (เป็นระบบที่ใช้งานโดยบุคลากรในสถานบริการสุขภาพ)
วันที่ 4 ธ.ค. 2564 | ผู้เข้าชม 5,113 ครั้ง | โดย กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน (ทนส.กยผ.)

ผู้รับผิดชอบ:

นางสาวปิยะนุช ชัยสวัสดิ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

โทร. 02-5906211 ต่อ 822

มือถือ 093-6515356

ชื่อแพลตฟอร์ม

ชื่อโครงการตามแผนงานบูรณาการฯ ที่ดำเนินการจัดทำแพลตฟอร์ม

วัตถุประสงค์ของแพลตฟอร์ม

รายละเอียดแพลตฟอร์ม
พร้อม
Link ประกอบ

จำนวนผู้เข้าร่วมแพลตฟอร์ม

(1. ผู้สูงอายุ……คน

2. ประชากรอายุ 25-59ปี…. คน

3. ประชาชนทั่วไป กรณีไม่สามรถระบุช่วงอายุได้….คน)

ระบบ Aging Health data

(เป็นระบบที่ใช้งานโดยบุคลากรในสถานบริการสุขภาพ)

โครงการพัฒนาระบบการป้องกันโรคระดับทุติยภูมิ เพื่อดูแลรักษากลุ่มอาการ

หรือโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ

  1. เพื่อเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผลการคัดกรอง ประเมินสุขภาพในผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้สถานบริการสุขภาพ (รพ.สต. และ รพ. ทุกระดับ) มีข้อมูลผู้สูงอายุรายคนรับผิดชอบ ในการกำกับ ติดตาม ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  3. เพื่อทราบสถานการณ์ภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ

http://aginghealthdata.dms.go.th/geriatric/index.php

 

หมายเหตุ: Aging Health Data © 2017 "โปรแกรมได้รับการสงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์โดย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข"
พัฒนา และ ดูแลระบบ โดย สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

  1. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข  125841 คน
  2. มีข้อมูลสถานะสุขภาพผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในระบบกว่า 4,800,000 คน (1 คน จำแนกเป็น 14 ประเด็น ใน 4 ประเด็น จะแตกย่อยออกเป็นหลายๆข้อมูล ปัจจุบันมีข้อมูลประมาณ 20 ล้าน Records)